Page 52 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 52

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   47

                ดูแลเทาของผูปวยโรคเบาหวานในชุมชนแหงนี้ ผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการดูแล
                เทาของผูปวยโรคเบาหวานในพื้นที่ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนอง

                บอ จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการดูแลเทาของผูปวยโรคเบาหวาน และเปน
                ขอมูลพื้นฐานเพื่อนําไปวางแผนในการดูแลผูปวยเบาหวานใหมีพฤติกรรมการดูแลเทาที่ถูกตอง
                ตอไป

                วิธีดําเนินการวิจัย

                        การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเทาของ
                ผูปวยเบาหวานในพื้นที่ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองบอ อําเภอ
                เมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีวิธีการดําเนินการวิจัย ดังตอไปนี้

                        ขอบเขตการวิจัย ประชากร คือ ผูปวยโรคเบาหวานในเขตพื้นที่บริการของโรงพยาบาล
                สงเสริมสุขภาพตําบลหนองบอ ตําบลหนองบอ อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 250
                คน ประมาณขนาดกลุมตัวอยางโดยใชตารางการประมาณขนาดกลุมตัวอยางของ เครซี่และมอร
                แกน (Krejcie and Morgan, 1970 อางถึงในประสพชัย พสุนนท,2557) ไดกลุมตัวอยางที่เปน

                ผูปวยโรคเบาหวานในเขตพื้นที่บริการของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองบอ อําเภอ
                เมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยเลือกผูปวยเบาหวานที่มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ สามารถใหขอมูล
                ไดดวยตนเอง และยินยอมใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม จํานวน 152 คน สุมกลุม
                ตัวอยางโดยไมใชหลักความนาจะเปน (Non-Probability Sampling) คัดเลือกกลุมตัวอยางแบบ

                บังเอิญ (Accidental sampling) ทําการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริม
                สุขภาพตําบลหนองบอ ประกอบดวยบานหนองบอหมูที่ 1 2 3 และ 4 บานมะเขือ หมูที่ 5 บาน
                โพนงาม หมูที่ 6 และ 7 บานสําลาก หมูที่ 12 และบานทาสนามชัย หมูที่ 13 ตําบลหนองบอ
                อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาวิจัย เมษายน-พฤษภาคม 2561

                        กรอบแนวคิด ใชกรอบแนวคิดทฤษฎีของโอเร็ม พฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย
                เบาหวานเปนการดูแลตนเองดานความตองการการดูแลตนเองที่จําเปนในภาวะเบี่ยงเบน
                ทางดานสุขภาพ (health deviation self-care requisite: HDSCR) ซึ่งเปนพฤติกรรมการดูแล
                เทาในผูปวยเบาหวาน เปนความตองการการดูแลตนเองทั้งหมด (therapeutic self-care

                demand)  (Orem, 2001 อางใน พารุณี วงษศรี และทีปทัศน ชินตาปญญากุล, 2561) ซึ่ง
                ลํายอง ทับทิมศรี ไดทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลเทาของผูปวยโรคเบาหวาน
                พบวาพฤติกรรมการดูแลเทาของผูปวยโรคเบาหวานประกอบดวยกิจกรรม 5 ดาน คือ 1) ดาน
                การดูแลความสะอาดของผิวหนัง 2) ดานการตรวจเทาเพื่อคนหาความผิดปกติ 3) ดานการ

                ปองกันการเกิดแผลที่เทา 4) ดานการสงเสริมการไหลเวียนเลือดบริเวณเทา และ 5) ดานการ
                ดูแลรักษาบาดแผล (ลํายอง ทับทิมศรี, 2541)
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57