Page 59 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 59

54  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             จึงอาจเกิดอันตรายงายกวารองเทาหุมสน และสงผลใหเกิดแผลที่เทาได สอดคลองกับการศึกษา
             ของหนึ่งฤทัย จันทรอินทร, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย มาลาธรรม (2558) และ

             การศึกษาของสมเพียร ประภาการ (2552) ซึ่งอาจเปนเพราะรองเทาแตะแบบสวม และแบบคีบ
             สวมใสงาย สะดวกไมติดพุงเวลากมใสรองเทา เนื่องจากการกมเงยสําหรับผูสูงอายุเปนเรื่อง
             ลําบาก สวนพฤติกรรมการเลือกรองเทาของผูปวยเบาหวานอยูในระดับปานกลางเชนกัน โดยถา
             ผูปวยซื้อรองเทาใหมจะเลือกรองเทาที่สวมใสสบาย ไมบีบรัด พื้นนุม มีการระบายอากาศและ
             ความชื้นได (X̅ = 3.47, SD.=0.69) เลือกสวมรองเทาที่มีลักษณะหุมเทาได หรือเวลาเดินไมหลุด

             จากเทาไดงาย ไมบีบรัด พื้นนุม และมีการระบายอากาศได เชน รองเทาผาใบ รองเทาหนัง (X̅ =
             3.05, SD.=0.82) ถาซื้อรองเทาใหมจะสวมรองเทาใหมนานครั้งละครึ่งชั่วโมง สลับกับรองเทาคู
             เกา และคอยเพิ่มเวลาใหนานขึ้นในวันตอไป (X̅ = 2.73, SD.=0.77) จึงควรสงเสริมใหผูปวยสวม

             รองเทาหุมสนมากกวาการใสรองเทาแตะแบบสวม หรือแบบคีบ และอธิบายใหผูปวยที่เปน
             เบาหวานเกิดความเขาใจวาผูปวยโรคเบาหวานมีโอกาสเกิดแผลที่เทาไดมากกวาบุคคลอื่นเพราะ
             ความเสื่อมของระบบประสาทสวนปลาย ประกอบกับความเสื่อมในการมองเห็น และการรับ
             สัมผัส การสั่นสะเทือน แรงกด และการรับรูตําแหนง (Tactile sensation) ลดลง (หนึ่งฤทัย

             จันทรอินทร, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย มาลาธรรม, 2558) นอกจากนี้การศึกษา
             ครั้งนี้ยังพบวาผูปวยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมปองกันการเกิดบาดแผลที่อยูในระดับที่ต่ํา คือ
             ผูปวยใชมีด ไม หรือของแข็งอื่น ๆ แคะซอกเล็บเทาเพื่อทําความสะอาด (X̅ = 1.81, SD.=0.53)
             และผูปวยลางเทา หรือแชเทาในน้ําอุนใหเล็บนิ่มกอนตัด (X̅ = 1.70, SD.=0.95) ใสรองเทาบาง ๆ

             ขณะเดินอยูในบาน (X̅ = 1.71, SD.=1.06) สอดคลองกับการศึกษาของธนาภรณ สาสี, เบญจา
             มุกตพันธุ, และพิษณุ อุตตมะเวทิน (2561) ที่พบวาผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ประมาณรอยละ 30
             มีพฤติกรรมการปองกันการเกิดแผลที่เทาอยูในระดับต่ําถึงปานกลาง มีพฤติกรรมที่ตองปรับปรุง
             ไดแก การขูดหนังเทา การแคะซอกเล็บดวยของมีคม

                     ดานการสงเสริมการไหลเวียนเลือดบริเวณเทา ผูปวยเบาหวานมีพฤติกรรมดานการ
             สงเสริมการไหลเวียนเลือดบริเวณเทาภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (X̅ = 3.27, SD.=0.50)
             ผูปวยเบาหวานไมสูบบุหรี่ หรือเลิกสูบบุหรี่อยูในระดับดี (X̅ =3.83, SD.=0.67) การศึกษาครั้งนี้มี

             ผูปวยเบาหวานที่ยังสูบบุหรี่อยูเพียงรอยละ 4.60 ซึ่งเปนพฤติกรรมการดูแลเทาที่ดีเพราะการสูบ
             บุหรี่เปนสาเหตุชักนําใหเกิดหลอดเลือดตีบแข็งมีผลใหเลือดมาเลี้ยงบริเวณสวนปลายเทาลดลง
             ทําใหเกิดแผล หรือเมื่อมีแผลแลวแผลจะหายชา (มณกร ศรีแปะบัว, 2557) ผูปวยเบาหวานเมื่อ
             ทราบวาตนเองเปนโรคเบาหวานจะหลีกเลี่ยงการนั่งไขวหาง หรือการนั่งยอง ๆ หรือการยืนเปน

             เวลานาน ๆ อยูในระดับปานกลาง (X̅ =3.26, SD.=0.82) ใสถุงเทา หรือใช ผาหมเทาใหอุนเวลา
             ที่อากาศเย็นมาก (X̅ =3.10, SD.=0.67) นวดนิ้วเทา ฝาเทา และนอง หรือบริหารขา และเทาทุก
             วัน (X̅ =2.89, SD.=0.97) สอดคลองกับการศึกษาของอภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ สุมาลี เชื้อพันธ

             (2550) และการศึกษาของหนึ่งฤทัย จันทรอินทร, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย มาลา
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64