Page 51 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 51

46  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             2560 เทากับ 1,081.25 1,032.50 1,233.46 1,292.79 และ 1,344.95 ตอแสนประชากร
             ตามลําดับ (สํานักนโยบาย และยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข, 2561) อัตราตายดวย

             โรคเบาหวานระหวางป พ.ศ.2556-2560 เทากับ 15.00 17.50 19.40 22.30 และ 22.00 ตอ
             แสนประชากรตามลําดับ (สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองยุทธศาสตรและแผนงาน,
             2561) สาเหตุของการเสียชีวิต และพิการของผูปวยโรคเบาหวานเกิดจากภาวะแทรกซอนที่
             เกิดขึ้นในหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก สงผลใหเกิดพยาธิสภาพที่ตา ไต และการเสื่อมของหลอด
             เลือดแดงขนาดใหญ ซึ่งเปนสาเหตุของโรคหัวใจ และปญหาที่เทา เนื่องจากการเสื่อมของปลาย

             ประสาทรับความรูสึก ทําใหการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงที่เทาลดลง (อําภาพร นามวงศพรหม
             และน้ําออย ภักดีวงศ, 2553) ซึ่งภาวะแทรกซอนที่เกิดกับเทาเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดการ
             สูญเสียขา และเทาในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 มากที่สุด (International diabetes federation,

             2012 อางถึงใน อัทคพล มลอา, กนกพร นทีธนสมบัติ และชฎาภา ประเสริฐทรง, 2558) การ
             สูญเสียเทาสงผลใหคุณภาพชีวิตลดลง ภาพลักษณเปลี่ยนแปลง ความรูสึกมีคุณคาในชีวิตลดลง
             เกิดภาวะซึมเศราตามมา นอกจากนี้ยังสงผลตอภาวะเศรษฐกิจทั้งของผูปวย ครอบครัว และ
             ประเทศชาติ การดูแลเทาของผูปวยเบาหวานเปนสิ่งที่ผูปวยสามารถดูแลไดดวยตนเองโดยไม

             ยากลําบาก เพราะเปนสิ่งที่ปฏิบัติอยูเปนกิจวัตรประจําวัน หากดูแลเทาอยางสม่ําเสมอ และ
             ตอเนื่องจะชวยใหผูปวยสามารถรักษาโครงสราง และการทําหนาที่ของเทาใหเปนปกติเทาที่จะ
             เปนได รวมทั้งปองกันการเกิดแผลซึ่งอาจกอใหเกิดความสูญเสีย และความพิการตามมาได
             (ลํายอง ทับทิมศรี, 2541)

                     จากการทบทวนวรรณกรรมพบวามีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลเทาของผูปวย
             โรคเบาหวานในหลายพื้นที่ เชน จิตรานนท โกสียรัตนาภิบาล (2554) ศึกษาความรูและ
             พฤติกรรมการดูแลสุขภาพเทาของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่ตึกผูปวยใน
             โรงพยาบาลพระอาจารยฝนอาจาโร อําเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พบวาผูปวยมี

             พฤติกรรมการดูแลเทาที่ถูกตองในภาพรวม รอยละ 68.4 พฤติกรรมการดูแลเทาที่มีคะแนนต่ํา
             ที่สุด คือ การตัดเล็บเทาจนสั้น และตัดโคงมนบริเวณมุมเล็บ ใชยาแดง ไฮโดรเจนเปอรออกไซด
             หรือทิงเจอรไอโอดินใสแผล ใชมีด กรรไกร หรือของแข็งอื่น ๆ แคะซอกเล็บเทาเพื่อทําความ
             สะอาด การศึกษาของ จารุวรรณ ศิลา, นงลักษณ แกวศรีบุตร, กลวยไม ธิพรพรรณ, ทินวิสุทธิ์

             ศรีละมัย และณัฐสิทธิ์ รมศรี (2556) พบวาพระสงฆที่ปวยเปนโรคเบาหวาน โรงพยาบาลชุมแพ
             จังหวัดขอนแกน มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคไมถูกตอง ไมมา
             ติดตามตรวจตามนัด หยุดฉันยาเอง และดูแลเทาเมื่อมีแผลไมถูกตอง พื้นที่ความรับผิดชอบของ
             โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองบอ ประกอบดวยบานหนองบอ หมูที่ 1 2 3 และ 4 บาน

             มะเขือ หมูที่ 5 บานโพนงาม หมูที่ 6 และ 7 บานสําลาก หมูที่ 12 และบานทาสนามชัย หมูที่ 13
             ในป พ.ศ.2561 มีผูปวยดวยโรคเบาหวานจํานวน 250 คน ผูปวยเบาหวานที่มีแผลที่เทาในชวง
             เดือนมกราคม-พฤษภาคม พ.ศ.2561 จํานวน 5 คน และยังไมมีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56