Page 77 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 77
72 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018
งาน หนวยงาน องคกร สังคม เปนมิตรและผูกพันมีไมตรีจิต ชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ทําให
มีความเจริญกาวหนา
3. เพื่อศึกษาการนําการตระหนักรูในตนเองไปใชประโยชนของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่
3 และชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 1 พบวา นักศึกษาทั้ง ชั้นปมีการนําเอาตระหนักรูไปใชใน 3
ชีวิตประจําวันโดยเขาใจอารมณตัวเองทําใหสามารถควบคุมตัวเองได ตลอดจนรูจุดออน จุดดอย
ของตัวเองและนําไปปรับใชอยางมีเหตุผล และนักศึกษาทั้ง ชั้นป มีการนําเอาตระหนักรูใน 3
ตนเองไปใชในการฝกปฏิบัติงานโดยตระหนักรูในตัวเองอยูเสมอ ทําใหมีสติและรอบคอบขณะ
เวลาทํางานหรือฝกปฏิบัติงาน
ขอเสนอแนะ
ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป
1.1 ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่นๆที่เกี่ยวของกับความรูสึก ความคิดที่จะมีผลตอการเกิด
พฤติกรรมการตระหนักรูในตนเอง จึงจะชวยใหเขาใจการตระหนักรูในตนเองและการนําไปใชได
ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
1.2 ควรมีงานวิจัยเพื่อหารูปแบบการพัฒนาการตระหนักรูในตนเอง เพื่อประโยชนใน
การนําไปใชสงเสริมทักษะการตระหนักรูในตนเองและนําไปใชไดกับบุคคลทุกเพศทุกวัยและทุก
สายอาชีพ
ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
1.1 ควรมีกิจกรรมสงเสริมใหนักศึกษาไดรูจักการตระหนักรูในตนเองตั้งแตเริ่มเขาศึกษา
ชั้นปที่ 1
1.2 ควรมีกิจกรรมพัฒนาการตระหนักรูในตนเองแกนักศึกษาทุกชั้นป ที่เหมาะสมกับ
สมรรถนะของนักศึกษาแตละชั้นป
เอกสารอาอิง
จรูญรัตน รอดเนียม และคณะ. (2556). การรับรูประโยชน การรับรูอุปสรรคและการรับรู
ความสามารถของตนเองกับพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพและภาวะสุขภาพของนักศึกษา
พยาบาล. พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 23(3), 88-97.
ฉวีวรรณ สัตธรรม. (2557). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.
ทัศนีย สุริยะไชย. (2554). ความสัมพันธระหวางการตระหนักรูในตนเองกับการรวมรูสึกในวัยรุน.
(การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ
นทรวิโรฒ).