Page 30 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 30
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 25
การเปดหลอดเลือดใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย ดังนั้นการใชวัสดุในการเปดหลอด
เลือดที่สามารถทําใหระยะเวลาคงอยูในหลอดเลือดนานเปนการรบกวนผูปวยนอยที่สุด มี
ภาวะแทรกซอนที่เปนอันตรายนอยที่สุด และในหอผูปวยวิกฤตเองยังไมไดมีการเก็บขอมูลการ
เกิดหลอดเลือดดําสวนปลายอักเสบที่เปนระบบ จากแนวคิดนี้ ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษา
อัตราการเกิดภาวะหลอดเลือดดําอักเสบจากการไดรับสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย
ในผูปวยระยะวิกฤต เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลและเกิดความปลอดภัยกับผูปวย
ไมเกิดภาวะแทรกซอนเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อศึกษาอัตราการเกิดภาวะหลอดเลือดดําสวนปลายอักเสบจากการใหสารละลายทาง
หลอดเลือดดําในผูปวยวิกฤต
2. เพื่อศึกษาคุณลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคมของผูปวยวิกฤตที่ให
สารละลายทางหลอดเลือดดํา
วิธีดําเนินการวิจัย
กลุมตัวอยาง ไดแก ผูปวยที่มีอายุตั้งแต 10 ปขึ้นไป ที่เขารับการรักษาในหอผูปวยวิกฤต
และไดรับสารละลายทางหลอดเลือดดํา จํานวน 50 ราย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก คูมือการใหสารละลายทางหลอดเลือดดําในผูปวย
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบบันทึกการใหสารละลายทางหลอด
เลือดดําสวนปลาย แบงออกเปน 2 สวน คือ
สวนที่ 1 แบบบันทึกขอมูลสวนตัว ประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ สถานภาพ การศึกษา
รายได โรคประจําตัว โรคที่เจ็บปวย สิทธิการรักษา ชนิดของสารละลายที่ใหใน 24 ชั่วโมง
ระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา บริเวณ / ตําแหนงที่ใหสารละลายทางหลอดเลือด
ดํา ยาปฏิชีวนะที่ใหทางหลอดเลือดดํา บุคลากรผูเปดหลอดเลือดดําเพื่อใหสารละลาย และ
จํานวนครั้งที่เปดหลอดเลือดดํา
สวนที่ 2 แบบประเมินผิวหนังบริเวณที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย โดย
บันทึกอัตราการไหล ของสารละลายที่ใหทางหลอดเลือดดํา ประเมินทุก 2 ชั่วโมง เซ็นชื่อกํากับ
พรอมระบุวันเวลาเมื่อมีอาการ มีรายการใหเลือก 6 ขอ คือ
1. หลอดเลือดเปดโลง
2. บวมหรือเข็มหลุดออกนอกหลอดเลือด (infiltration)