Page 28 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 28

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   23

                The age range is the 41-60 year of 26.0 percent to 62.0 percent of farming, 74.0
                percent of elementary has a 35.0 percent, Spouse 70.0 percent, income between

                3001–5000 baht/46.0 per cent, for most of diseases as heart disease, 40.0 percent.
                Cause illness, treatment, diseases of the respiratory system.34.0percent, Rights to
                treatment as universal coverage 32 percent. The rate of vein inflammation 14.0
                per cent.
                Key words: Peripheral vein, inflammation, solution, critical patient


                บทนํา
                         อุบัติการณของการติดเชื้อในกระแสโลหิตชนิดปฐมภูมิ (Incidence of Primary

                Bacterianemia) การติดเชื้อในกระแสโลหิตชนิดปฐมภูมิ (primary bacterianemia) เปนการ
                ติดเชื้อในโรงพยาบาลที่รุนแรงและมีอันตรายสูงมาก ในประเทศสหรัฐอเมริกาในแตละป จะมีผู
                ติดเชื้อในกระแสโลหิตชนิดปฐมภูมิจากการสอดใสเครื่องมือเขาหลอดเลือด ประมาณ 20,000
                ราย และจากการศึกษาพบวา การติดเชื้อในกระแสโลหิต เกิดจากการสอดใสเครื่องมือเขาหลอด

                เลือด ถึงรอยละ 75 ในประเทศไทย ถาประเมินจากผลการศึกษาในโรงพยาบาลทั่วประเทศไทย
                ป พ.ศ. 2535 พบวามี  การติดเชื้อในกระแสโลหิตชนิดปฐมภูมิ 3.2 รายใน 1,000 ราย ในแตละ
                ป จะมีผูที่ติดเชื้อ 12,800 ราย และการติดเชื้อมีสาเหตุมาจากการสอดใสเครื่องมือเขาหลอด
                เลือด ปละ 9,600 ราย หรือวันละ 2.6 ราย ซึ่งเปนจํานวนไมนอยและมีความสําคัญ เพราะโรคนี้

                มีอันตรายสูงมาก เนื่องจากการใหสารน้ําและการสอดใสเครื่องมือเขาทางหลอดเลือดเปน
                สิ่งจําเปนและนับวันจะมีการใชมากขึ้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะหาวิธีปองกันการเกิดโรค
                แทรกซอนจากการปฏิบัติรักษาดวยวิธีเหลานี้
                          ภาวะไมสมดุลของสารน้ํา อิเล็คโตรลัยท และสารอาหาร เปนปญหาหนึ่งที่พบไดบอย

                ในผูปวย ซึ่งบุคลากรทางการแพทยควรใหความสําคัญ เนื่องจากเปนที่ทราบกันดีอยูแลววาหาก
                เกิดขึ้น อาจมีผลเสียตออวัยวะที่สําคัญของรางกาย เชน สมอง หัวใจ ไต และอื่น ๆ ถาอาการ
                รุนแรงมาก ไมไดรับการชวยเหลืออยางรวดเร็วและถูกตอง อาจทําใหผูปวยถึงแกชีวิต ปญหา
                เหลานี้สามารถชวยเหลือไดโดยการใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา ซึ่งนอกจากจะเปนการให

                เพื่อทดแทนการขาดน้ํา อิเล็คโตรลัยทและสารอาหารแลว ยังเปนการใหเลือด สวนประกอบของ
                เลือด รวมถึงการใหยาตาง ๆ จากประโยชนของการใหสารละลายทางหลอดเลือดดําดังกลาว จะ
                เห็นวามีมากมาย แตหากผูปวยมีปญหาหรือมีภาวะแทรกซอนใด ๆ เกิดขึ้น จะสงผลทําใหผูปวย
                ตองนอนโรงพยาบาลนานขึ้น ผูปวยวิกฤตจําเปนตองไดรับสารละลายทางหลอดเลือดดําแทบทุก

                ราย จากการสํารวจของ Francine (1970 อางถึงใน สุจีรา จียาศักดิ์, 2524) พบวา มีการให
                สารละลายทางหลอดเลือดดําในผูปวยหนึ่งคน ตอจํานวนผูปวยที่นอนโรงพยาบาล สี่คน และจาก
                การสํารวจในหอผูปวยวิกฤต โรงพยาบาลมุกดาหาร ในชวงเดือนตุลาคม 2553 พบวามีการให
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33