Page 65 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 65

60  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             ผลเสียตามมาตอสุขภาพกาย หรือสุขภาพจิต รวมถึงผลเสียทางสังคมจากการดื่ม ผูดื่มแบบติด
             (Alcohol dependence) จํานวน 39 คน คิดเปน รอยละ 38.24 เปนกลุมที่ควรไดรับการสงตอ

             พบแพทย เพื่อการตรวจวินิจฉัยและวางแผนการบําบัดรักษา สอดคลองกับการศึกษาของ วิชัย
             เอกพลากร (2559) ที่มีการสํารวจสุขภาพประชาชนไทย พบวาสําหรับปญหาความเสี่ยงตอการ
             ติดสุราจากการสัมภาษณประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไป พบวาผูชายกลุมอายุ 30-44 มีสัดสวน
             ของกลุมที่ดื่มแบบติดสุราสูงสุด ซึ่งกลุมนี้เปนกลุมที่ควรไดรับการสงตอพบแพทย เพื่อการตรวจ
             วินิจฉัยและวางแผนการบําบัดรักษาโดยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง


             ขอเสนอแนะ
                     1. จากผลการศึกษาวิจัย แสดงใหเห็นวาในชุมชนเมือง มีผูดื่มที่เปนผูดื่มแบบเสี่ยง ผูดื่ม

             แบบอันตราย เปนจํานวนมาก ซึ่งผูดื่มในชุมชนกลุมนี้ ควรไดรับการดูแลโดยมุงเนนใหลดการดื่ม
             แบบเสี่ยง และแนะนําใหรับคําปรึกษาแบบสั้น และติดตามอยางตอเนื่อง และในสวนของผูดื่ม
             แบบติดนั้น ควรไดรับการสงตอพบแพทย เพื่อการตรวจวินิจฉัยและวางแผนการบําบัดรักษาโดย
             ผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

                     2. ควรมีการศึกษาขนาดและผลกระทบจากการดื่มแอลกอฮอลที่มีตอครอบครัวและ
             สังคมมากขึ้น เพื่อเชื่อมโยงการดูแลผูดื่มและผูที่ไดรับผลกระทบจากการดื่ม และเพื่อพัฒนา
             รูปแบบการดูแลและการใหบริการแกคนในชุมชน


             เอกสารอางอิง
             กนกวรรณ จังอินทร และ สมเดช พินิจสุนทร. (2560). พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอลและ
                     ผลกระทบตอครอบครัวของผูดื่มแอลกอฮอลที่เขาบําบัดในโรงพยาบาลธัญญารักษ
                     อุดรธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแกน. 5(3), 487-501.

             กนิษฐา ไทยกลา. (2550). การศึกษาความสัมพันธระหวางสถานที่จําหนายและพฤติกรรมการดื่ม
                     เครื่องดื่มแอลกอฮอลของผูบริโภค. กรุงเทพมหานคร.
             วิชัย เอกพลากร และคณะ. (2559). รายงานการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจ

                     รางกายครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.).
             นงนุช ใจชื่น และคณะ. (2560). สถานการณ ชองวางและโอกาสในการควบคุมการตลาดและ
                     การโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอลในปรเทศไทย. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 11(1),
                     377-393.
             ปริทรรศ ศิลปกิจ และพันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย. (2552). แบบประเมินปญหาการดื่มสุรา แนว

                     ปฏิบัติสําหรับสถานพยาบาลปฐมภูมิ. บริษัท ทานตะวันเปเปอร จํากัด.
             สุวรรณี แสงอาทิตย. (2550). ปจจัยทํานายพฤติกรรมเสี่ยงดานการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และเสพสาร
                     เสพติดในวัยรุน. (วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยขอนแกน.
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70