Page 70 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 70

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   65

                จันทรเกษม, 2560) จากสภาพดังกลาว อาจเปนสาเหตุใหนักศึกษาเรียนไมสําเร็จตามโปรแกรม
                การศึกษาได

                        ความใฝฝนในการเปนพยาบาลวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล อาจมีความแตกตางกัน
                ทําใหนักศึกษาสวนนอยที่ลาออกกอนสําเร็จตามหลักสูตร แตก็ยังมีนักศึกษาสวนใหญที่ยังมีความ
                ตั้งใจในการศึกษา และเรียนตอในวิชาชีพพยาบาลจนสําเร็จการศึกษาได ดังการอางอิงที่ผานมา
                พบวาปจจัยที่ทําใหนักศึกษาพยาบาลศึกษาตอจนสําเร็จการศึกษา คือ เจตคติ ความรักในวิชาชีพ
                โดยพบวา นักศึกษาสวนใหญมีบิดา-มารดาที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีรายไดครอบครัว

                คอนขางต่ํา มีเจตคติในเชิงบวกในการตั้งใจเรียนใหสําเร็จเพื่อประกอบวิชาชีพตามที่ตั้งใจไว
                เหตุผลของการที่เลือกเขาศึกษาในสาขาการพยาบาล คือ เปนความปรารถนาของครอบครัว มี
                งานทําแนนอน เปนอาชีพที่ไดประโยชนและมีเกียรติ นักศึกษาสวนใหญ (รอยละ 99.40) มีความ

                พึงพอใจตอการไดรับการตอบสนองความตองการในภาพรวมในระดับมาก โดยไดรับการ
                ตอบสนองความตองการดานการไดรับการยกยองมากที่สุด รองลงมาคือ ดานการไดรับ
                ความสําเร็จในชีวิต ดานสังคม ดานความปลอดภัย และดานรางกาย ตามลําดับ นักศึกษาสวน
                ใหญ (รอยละ 70.66) มีความพึงพอใจตอความเหมาะสมของหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน

                ปจจัยเกื้อหนุน และผูสอน ในภาพรวมในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจดานปจจัยเกื้อหนุนมาก
                ที่สุด รองลงมาคือ ดานหลักสูตร ดานการจัดการเรียนการสอน และดานผูสอนตามลําดับ ปจจัย
                แรงจูงใจ ไดแก ความตองการดานการไดรับการยกยอง ดานการความปลอดภัย และดานการ
                ไดรับความสําเร็จในชีวิต รวมกันทํานายความยึดมั่นผูกพันในวิชาชีพ ไดรอยละ 35.2 (R2 =

                0.35) ปจจัยหลักสูตร และปจจัยเกื้อหนุน สามารถรวมกันอธิบายความผันแปรของความยึดมั่น
                ผูกพันในวิชาชีพพยาบาล ไดรอยละ 51.40 (R2 = 0.51) เมื่อวิเคราะหอํานาจการทํานายรวมกัน
                ของ 2 กลุมปจจัยนี้ พบวา ปจจัยการจัดการศึกษา สามารถทํานายความยึดมั่นผูกพันในวิชาชีพ
                ไดรอยละ 38.8 (R2 = 0.39) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้มีการศึกษาปจจัยในการคงอยู

                ของพยาบาลวิชาชีพที่อยูในหอผูปวยวิกฤต โรงพยาบาลรอยเอ็ด พบวา ความสัมพันธในทีม
                พยาบาล ทําใหพยาบาลยังคงอยูในการทํางานตอไป (เพียงใจ เวชชวงศ, 2556) อีกทั้งยังมี
                การศึกษา พบวา ปจจัยดานเศรษฐกิจ รายได เปนปจจัยที่รวมทํานายการคงอยูในงานของ
                พยาบาลวิชาชีพ (บงกชพร ตั้งฉัตรชัย, 2554)

                        แตจากการศึกษาที่ผานมา พบวา มีเพียงการศึกษาปจจัยเกี่ยวกับทัศนคติในวิชาชีพ แต
                ยังไมพบการศึกษาเกี่ยวกับปจจัยอื่นที่เกี่ยวของกับชีวิตของนักศึกษาพยาบาล ในการศึกษาตอจน
                สําเร็จตามหลักสูตร ดวยเหตุผลนี้ ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการ
                คงอยูของนักศึกษาพยาบาลที่ศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในจังหวัด

                อุบลราชธานี ซึ่งผลการศึกษาจะเปนประโยชนในการนํามาสงเสริมสนับสนุนใหนักศึกษาเกิด
                กําลังใจเพิ่มมากขึ้น และเรียนไดสําเร็จตามหลักสูตรของคณะพยาบาลตอไป
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75