Page 64 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 64

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   59

                        สวนที่ 3 ระดับความเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
                        จากผลการศึกษาพบวา มีผูดื่มแบบเสี่ยงต่ํา (Low risk drinker) จํานวน 10 คน คิดเปน

                รอยละ 9.80 ซึ่งกลุมนี้เปนกลุมที่ตองใหความรูเกี่ยวกับการดื่มสุรา และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
                หากดื่มมากกวานี้ และชื่นชมพฤติกรรมการดื่มที่เสี่ยงต่ํา ใชเวลาไมมากกวาหนึ่งนาที ผูดื่มแบบ
                เสี่ยง (Hazardous drinker) จํานวน 32 คน คิดเปน รอยละ 31.37 กลุมนี้ผูดื่มมีลักษณะการดื่ม
                สุราที่เพิ่มความเสี่ยงตอผลเสียหายตามมาทั้งตอตัวผูดื่มเองหรือผูอื่น ผูดื่มแบบอันตราย
                Harmful use จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 20.59 เปนกลุมที่มีการดื่มสุราจนเกิดผลเสีย

                ตามมาตอสุขภาพกาย หรือสุขภาพจิต รวมถึงผลเสียทางสังคมจากการดื่ม ผูดื่มแบบติด
                (Alcohol dependence) จํานวน 39 คน คิดเปน รอยละ 38.24 เปนกลุมที่ควรไดรับการสงตอ
                พบแพทย เพื่อการตรวจวินิจฉัยและวางแผนการบําบัดรักษา แสดงในตารางที่ 3


                ตารางที่ 3 ระดับความเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
                               ระดับความเสี่ยง                จํานวน (n=102)        รอยละ
                 ผูดื่มแบบเสี่ยงต่ํา (Low risk drinker)            10              9.80

                 ผูดื่มแบบเสี่ยง (Hazardous drinker)               32              31.37
                 ผูดื่มแบบอันตราย (Harmful use)                    21              20.59
                 ผูดื่มแบบติด (Alcohol dependence)                 39              38.24


                อภิปรายผล
                       1. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลของคนในชุมชน
                        จากการศึกษา พบวาพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลของคนในชุมชน พบวามี

                คะแนนเฉลี่ยเทากับ 17.79 คะแนน และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 7.59 ซึ่งแสดงถึง
                ปญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลในระดับสูง สอดคลองกับการศึกษาของ วิชัย เอกพลากร
                (2559) ที่พบวาความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลสูงสุดในภาคเหนือ และภาค

                ตะวันออกเฉียงเหนือ รอยละ 43-45 ซึ่งสะทอนถึงวาคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพฤติกรรม
                การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลเกือบ รอยละ 50
                       2. ระดับความเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
                        จากผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยาง มีผูดื่มแบบเสี่ยงต่ํา (Low risk drinker) จํานวน

                10 คน คิดเปน รอยละ 9.80 ซึ่งกลุมนี้เปนกลุมที่ตองใหความรูเกี่ยวกับการดื่มสุรา และอันตราย
                ที่อาจเกิดขึ้นหากดื่มมากกวานี้ และชื่นชมพฤติกรรมการดื่มที่เสี่ยงต่ํา ใชเวลาไมมากกวาหนึ่ง
                นาที ผูดื่มแบบเสี่ยง (Hazardous drinker) จํานวน 32 คน คิดเปน รอยละ 31.37 กลุมนี้ผูดื่มมี
                ลักษณะการดื่มสุราที่เพิ่มความเสี่ยงตอผลเสียหายตามมาทั้งตอตัวผูดื่มเองหรือผูอื่น ผูดื่มแบบ

                อันตราย (Harmful use) จํานวน 21 คน คิดเปน รอยละ 20.59 เปนกลุมที่มีการดื่มสุราจนเกิด
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69