Page 60 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 60

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   55

                        ขอบเขตของการวิจัย
                        กลุมตัวอยาง คือ ประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี มีเกณฑการเลือกผูให

                ขอมูล คือเปนผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลที่อาศัยอยูในชุมชนเมือง จังหวัดอุดรธานี และยินยอม
                เขารวมโครงการวิจัย ซึ่งไดจากการสุมแบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 102 คน และสํารวจโดยใช
                แบบประเมินปญหาการดื่มสุรา (Alcohol use identification test หรือ AUDIT) (ปริทรรศ
                ศิลปกิจ และ พันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย, 2552) โดยผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเอง ระหวางเดือน
                สิงหาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560

                        การเก็บรวบรวมขอมูล
                       การศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเอง โดยใชแบบสัมภาษณโดยวิธีการสัมภาษณ
                เชิงลึกและสํารวจโดยใชแบบประเมินปญหาการดื่มสุรา (Alcohol use identification test

                หรือ AUDIT) ซึ่งขอมูลที่จะเก็บรวบรวมมี 2 สวน ดังนี้
                        ระยะเตรียมการ (Pre-research phase) คือ ผูวิจัยเตรียมแบบสอบถามเพื่อใชในการ
                สํารวจ และจัดเตรียมวัสดุอุปกรณที่จําเปนตองใชในโครงการวิจัย
                       ระยะดําเนินการวิจัย (Research phase)

                       1) ผูวิจัยทําหนังสือจากหนวยงานตนสังกัด เพื่อขอเขาชี้แจงกลุมเปาหมาย ถึง
                วัตถุประสงคของโครงการและขอความรวมมือในการเขารวมโครงการ ศึกษาความพรอม รวมทั้ง
                ใหขอมูลอันจะเปนประโยชนตอกลุมตัวอยาง
                        2) ประสานงานกับหนวยงานและบุคคลที่เกี่ยวของ เพื่อแจงวัตถุประสงคและ

                รายละเอียดของโครงการศึกษา พรอมกับขออนุญาตและขอความรวมมือในการเก็บขอมูล
                        3) คัดเลือกกลุมตัวอยางตามเกณฑที่กําหนดไว สรางสัมพันธภาพกับกลุมตัวอยาง โดย
                  การแนะนําตัวเอง บอกวัตถุประสงคของการวิจัย และขอความรวมมือในการเขารวมวิจัย ถาม
                  ความสมัครใจในการเขารวมวิจัย พรอมทั้งกลาวถึงการพิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง

                          4) เมื่อกลุมตัวอยางยินยอมใหความรวมมือในการวิจัย ผูวิจัยทําการสัมภาษณเชิงลึก
                  โดยกระทําอยางระมัดระวัง หากผูใหขอมูลรูสึกอึดอัด และไมสบายใจที่จะตอบและพูดคุย จะ
                  หยุดการสัมภาษณทันที
                          5) ผูวิจัยตรวจสอบความสมบูรณของขอมูลใหครบถวน

                          6) ผูวิจัยรวบรวมขอมูลแลวนําขอมูลทั้งหมดไปวิเคราะห
                       เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
                       ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใชแบบประเมินปญหาการดื่มสุรา (Alcohol use identification
                Test หรือ AUDIT) ซึ่งแบบประเมินนี้ พัฒนาโดยองคการอนามัยโลก (WHO) ความไวและ

                ความจําเพาะของขอคําถามที่คัดเลือกมาพิจารณา มาจากหลายเกณฑ (เชน ปริมาณการดื่มเฉลี่ย
                ตอวัน การเมาสุราซ้ํา ๆ การแสดงอาการติดสุรา การวินิจฉัยวาดื่มแบบมีปญหาหรือติดสุรา หรือ
                การรับรูวาตนมีปญหาการดื่มสุรา) จุดตัดคะแนนรวม ไดพิจารณาจากคาความไว (รอยละของ
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65