Page 59 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 59
54 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017
ใหทุนสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ของธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล มีงานวิชาการยืนยันแลววา สิ่ง
เหลานี้มีผลตอทัศนคติเชิงบวกตอการดื่ม การเลือกแบรนดในการดื่ม และการตัดสินใจดื่มของ
เยาวชน (นงนุช ใจชื่น และคณะ, 2560)
ปญหาของการมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการบริโภคสุราที่มีมาอยางตอเนื่อง ทําใหเกิด
การปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแกไขปญหา จากการตั้งรับ ไปสูนโยบายเชิงรุก โดยใชยุทธศาสตร
การมีสวนรวมใหคนในชุมชนไดตระหนักถึงสภาพปญหาของการมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ หรือ
การบริโภคยาสูบที่มีมาอยางตอเนื่อง (สุวรรณี แสงอาทิตย, 2550) เกิดความรับผิดชอบตอปญหา
ที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พรอมทั้งหาวิธีการแกไข พฤติกรรมการสูบบุหรี่หรือการบริโภค
ยาสูบ เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของบุคคลในชุมชน ดังนั้น การดําเนินงานในการรณรงค
เพื่อควบคุมการสูบบุหรี่และบริโภคยาสูบ มุงใหมีการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงด
บริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทําใหอัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวของกับการบริโภค
ยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลง โดยเนนใหคนในชุมชนเห็นความสําคัญและถือเปนภารกิจที่ตอง
ชวยกัน กระตุนและชักนําใหคนในชุมชน องคกรชุมชน ตลอดจนเครือขายสุขภาพใหมีสวนรวม
อยางจริงจังและตอเนื่อง
วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลชองคนในชุมชนเมือง จังหวัด
อุดรธานี
2. เพื่อศึกษาระดับความเสี่ยงของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลชองคนในชุมชนเมือง
จังหวัดอุดรธานี
วิธีดําเนินการวิจัย
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลที่อาศัยอยูในชุมชนเมือง
จังหวัดอุดรธานี และยินยอมเขารวมโครงการวิจัย
ขนาดของกลุมตัวอยางการศึกษานี้ คํานวณกลุมตัวอยางโดยใชโปรแกรม n4Studies
(Ngamjarus C. and Chongsuvivatwong V., 2014) ซึ่งกําหนดคาความแปรปรวนประชากร
จากการศึกษานํารองเทากับ SD. = 0.25, Delta = 0.05, Alpha = 0.05, Z(0.975) = 1.959964
ไดขนาดของกลุมตัวอยางเทากับ = 97 เพื่อความสมบูรณของงานวิจัย เนื่องจากถากลุมตัวอยาง
ยิ่งมากคาความคลาดเคลื่อนก็จะยิ่งนอยลง ซึ่งจะทําใหขอมูลมีความเที่ยงตรงสูง ในการศึกษา
วิจัยครั้งนี้จึงใชกลุมตัวอยางซึ่งไดจากการสุมแบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 102 คน (Wayne W.,
D., 1995)