Page 73 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 73
68 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามการคงอยูของนักศึกษาพยาบาลที่ศึกษาใน
คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบดวย 4 สวนดังนี้
สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 8 ขอ ไดแก เพศ
อายุ และระดับชั้นป
สวนที่ 2 แบบสอบถามปจจัยในการเรียนในคณะพยาบาลศาสตร มี 3 ปจจัย รวม
ทั้งหมด 22 ขอ ไดแก ปจจัยดานความรักในวิชาชีพพยาบาล 7 ขอ ดานสัมพันธภาพ 7 ขอ และ
ดานเศรษฐกิจ 6 ขอ
การตอบคําถาม มีคําตอบใหเลือกตอบ 5 คําตอบ คาระดับคะแนน มีดังนี้
5 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด
4 หมายถึง เห็นดวยมาก
3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง
2 หมายถึง เห็นดวยนอย
1 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด
สวนที่ 3 แบบสอบถามการคงอยูของนักศึกษาพยาบาลศาสตรในการศึกษาคณะ
พยาบาลศาสตร มีทั้งหมด 15 ขอ
การตอบคําถาม มีคําตอบใหเลือกตอบ 5 คําตอบ คาระดับคะแนน มีดังนี้
5 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด
4 หมายถึง เห็นดวยมาก
3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง
2 หมายถึง เห็นดวยนอย
1 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด
การทดสอบคุณภาพเครื่องมือ
แบบสอบถามไดรับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน คาดัชนี
ความสอดคลอง (index of item objective congruence : IOC) เทากับ 0.93 (IOC รายขอ
อยูระหวาง 0.67-1.00) และนํามาปรับปรุงแกไข กอนนําไปทดลองใช (Try out) กับประชากรที่
มีคุณสมบัติคลายคลึงกับกลุมตัวอยางในการวิจัย โดยทดลองใชกับนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร
มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 30 คน หาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
โดยคํานวณคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) มีความ
เชื่อมั่นเทากับ 0.92
การพิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง
ผูวิจัยดําเนินการพิทักษสิทธิของกลุมตัวอยาง โดยการแนะนําตัวกับกลุมตัวอยาง เพื่อชี้แจง
เกี่ยวกับการวิจัย วัตถุประสงค ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล และประโยชนของการวิจัย พรอมทั้ง