Page 72 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 72
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 67
2. ตัวแปรที่ศึกษา
2.1 ตัวแปรตน ไดแก เพศ อายุ ระดับชั้นป ปจจัยในการคงอยู ดานความรักใน
วิชาชีพ ดานสัมพันธภาพ และดานเศรษฐกิจ
2.2 ตัวแปรตาม ไดแก การคงอยูของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย
แหงหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี
ระเบียบวิธีวิจัย
รูปแบบการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเปนแบบ correlative descriptive design
เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธตอการคงอยูของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร ในมหาวิทยาลัย
แหงหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี
ประชากรและกลุมตัวอยาง
1.1 ประชากรใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยแหง
หนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ชั้นปที่ 1-4 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560
จํานวน 661 คน
1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย
แหงหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ชั้นปที่ 1-4 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2560 กําหนดขนาดตัวอยางโดยโดยใชสูตรของเครซี่และมอรแกน (Krejcie and Morgan, 1970
อางใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2550) จํานวน 243 คน สุมตัวอยางแบบขั้นปฐมภูมิ (Stratified
Random Sampling) ดังแสดงในตารางที่ 1 ดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงการคํานวณขนาดกลุมตัวอยาง
นักศึกษาชั้นปที่ จํานวนประชากร จํานวนตัวอยาง จํานวนกลุมตัวอยาง
ชั้นปที่ 1 136 136×243 = 49.9 50 คน
661
ชั้นปที่ 2 154 154×243 = 56.6 56 คน
661
ชั้นปที่ 3 176 176×243 = 64.7 65 คน
661
ชั้นปที่ 4 195 195×243 = 71.6 72 คน
661