Page 54 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 54
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.3 No.1 January-March 2019 49
แอลกอฮอล การออกมาตรการที่เขมงวด ในการตรวจสภาพรถ รวมถึงการไมพิจารณาตอ
ทะเบียนใหแกรถที่มีการดัดแปลง การใชอุปกรณ เฝาติดตามและควบคุมความเร็ว เชน การติดตั้ง
ระบบระบุตําแหนงบนพื้นโลก (Global positioning system; GPS) สําหรับรถจักรยานยนต
การออกมาตรการดานสิ่งแวดลอม ไดแก การจัดชองทางวิ่ง สําหรับรถจักรยานยนต การแกไขจุด
เสี่ยง การปรับแกสัญญาณไฟจราจร และปายเตือนตาง ๆ อาจเปนสวนหนึ่งที่ชวยปองกันหรือลด
อุบัติการณของการเกิดอุบัติเหตุได (วัชรพงษ เรือนคํา และ ณรงคศักดิ์ หนูสอน, 2562)
ขอเสนอแนะ
1. ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย
1.1 ควรมีการพัฒนาโปรแกรมการอบรมเพื่อใหความรูแกนักศึกษาในการปองกันการเกิด
อุบัติเหตุ จากการจราจร
1.2 ควรมีการรณรงคเกี่ยวกับการปองกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนตภายใน
มหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง
1.3 ควรมีการกําหนดนโยบายของมหาวิทยาลัยอยางเปนลายลักษณอักษร เพื่อปองกันการ
เกิด อุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต เชน สวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ทั้งภายใน และ
ภายนอก มหาวิทยาลัย
2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป
2.1 หาความสัมพันธของพฤติกรรม และปจจัยอื่น ๆ เพิ่มเติม ที่สัมพันธตอการเกิดอุบัติเหตุ
จาก การขับขี่รถจักรยานยนต
2.2 ทําการวิจัยเชิงทดลอง โดยการจัดโปรแกรมใหความรูเกี่ยวกับการปองกันอุบัติเหตุจาก
การขับขี่รถจักรยานยนต และประเมินผลของการใหความรู
เอกสารอางอิง
กาญจนกรอง สุอังคะ. (2558). การศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของวัยรุนที่มีผลตอความเสี่ยงใน
การเกิดอุบัติเหตุจากการใชรถจักรยานยนต. นครราชศรีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร
นารี.
ธนัญชัย บุญหนัก, กุหลาบ รัตนสัจธรรม, ชิงชัย เมธพัฒน, และทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข. (2560).
รูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุระหวางความบกพรองของผูขับขี่ พฤติกรรมการขับขี่ที่
ไมปลอดภัยและความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรของผูขับขี่รถจักรยานยนต ในเขต
อุตสาหกรรม. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตรสุขภาพ, 11(2), 60-70.
พงษสิทธิ์ บุญรักษา. (2555). ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเกิดอุบัติเหตุจากการขับ
รถจักรยานยนตของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชศรีมา:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.