Page 53 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 53

48  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.3 No.1 January-March 2019

             หนารถคันอื่นในระยะกระชั้นชิด รอยละ 39.73 ขับรถตัดหนารถคันอื่น รอยละ 24.66 ขณะฝน
             ตกจะเรงความเร็วของรถเพื่อใหถึงที่หมาย เร็วขึ้น รอยละ 20.55 หยอกลอ หรือพูดคุยกับคน

             ซอนทายขณะขับรถ รอยละ 9.59 ขับรถขนาน กับรถของเพื่อนเพื่อคุยกันไดสะดวก รอยละ
             79.45 ไมใชแตรรถในการขอทางรถคันอื่น รอยละ 30.14 ขับรถแขงกับเพื่อน รอยละ 16.44 ขับ
             รถดวยมือขางเดียว รอยละ 10.96 ขับรถตามหลังรถ ที่อยูดานหนาแบบประชิด และรอยละ
             28.77 ไมลดความเร็วขณะผานลูกระนาด


             สรุปและอภิปรายผล
                     จากการวิจัยพบวา ในปการศึกษา 2561 นักศึกษาพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราช
             ธานี ประสบอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนตจํานวน 73 คน โดยนักศึกษาบางสวนที่ประสบ

             อุบัติเหตุ ไมมีใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต นอกจากนี้ยังพบพฤติกรรมมีการดัดแปลงสภาพรถ
             ไมสวมหมวก นิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ ใชหมวกนิรภัยที่ไมไดมาตรฐาน ใชโทรศัพทขณะขับขี่ ใหเพื่อน
             ซอนทายรถ มากกวาหนึ่งคน ขับรถยอนศร ไมตรวจสอบสภาพรถกอนการขับขี่ แซงรถคันอื่นใน
             ชั่วโมงเรงดวน และไมใชแตรรถในการขอทางรถคันอื่น สอดคลองกับงานวิจัยของธนัญชัย บุญ

             หนัก, กุหลาบ รัตนสัจธรรม, ชิงชัย เมธพัฒน, และทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข (2560) ที่พบวา
             พฤติกรรมการขับขี่ เชน การขับขี่ยอนทาง เดินรถ การเรงความเร็ว การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
             การฝาฝนสัญญาณ ไฟจราจร ลวนเปนพฤติกรรมที่กอใหเกิดอุบัติเหตุ นอกจากนี้การไมตระหนัก
             ถึงอันตรายที่อาจเกิดจากอุบัติเหตุ ทางจราจร พฤติกรรมการขับขี่ที่ไมปลอดภัย เชน สภาพที่ไม

             ปลอดภัยของผูขับขี่ อาจกอใหเกิด อุบัติเหตุได (รัตวัลย ศิริเลี้ยง, 2560) สวนการดัดแปลงรถ
             กอใหเกิดความเสี่ยงตอการเกิด อุบัติเหตุมากกวารถจักรยานยนตที่ไมมีการปรับแตงถึง 3.37 เทา
             และการขับขี่รถที่มีการชํารุด ไมไดรับการตรวจสภาพ ก็เปนปจจัยหนึ่งที่สัมพันธกับการเกิด
             อุบัติเหตุ (พงษสิทธิ์ บุญรักษา, 2555) ซึ่งจากการศึกษาของรัตวัลย ศิริเลี้ยง (2560) พบวา การ

             ไมตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจาก อุบัติเหตุจากการจราจร จะนําไปสูพฤติกรรมการขับขี่ที่ไม
             ปลอดภัย และกอใหเกิดอุบัติเหตุดาน การจราจรของผูขับขี่รถจักรยานยนตได
                     ดังนั้นการสรางความตระหนักในการขับขี่ที่ปลอดภัย รวมถึงการปองกันในดาน
             พฤติกรรม เชน การขับขี่ที่มีน้ําใจตอผูใชรถรวมถนน การปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัด การ

             ใสหมวกนิรภัย ทุกครั้งที่ขับขี่ การตรวจเช็คสภาพรถกอนขับขี่ทุกครั้ง การชะลอความเร็วทุกครั้ง
             เมื่อพบเจอสภาพ ถนนที่ไมดี ชํารุด หรือเปนหลุมเปนบอ การปฏิบัติตามปายเตือนและสัญลักษณ
             ตาง ๆ จะชวยปองกัน การเกิดอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนตได (พันชัย เมนฉาย, 2556,
             รัตวัลย ศิริเลี้ยง, 2560) มากไปกวานั้น การสรางมาตรการระดับประเทศ ไดแก การควบคุมผูขับ

             ขี่ที่มีอายุนอยกวา 19 ป ซึ่งเปนกลุมประชากรที่พบอุบัติเหตุมากที่สุด การฝกอบรมการขับขี่ที่
             ปลอดภัย และการเช็คสภาพรถ ดวยตัวเองแกเยาวชน การปลูกฝงใหเยาวชนเห็นโทษของการดื่ม
             เครื่องดื่มแอลกอฮอล การสงเสริมให ครอบครัวเปนแบบอยางที่ดีในการไมดื่มเครื่องดื่ม
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58