Page 80 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 80
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 75
การศึกษา (กยศ.) ขึ้น เพื่อมุงเนนที่จะใชเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางดาน
การศึกษาในสังคม และเพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหแกนักเรียนนักศึกษาที่มาจากครอบครัวที่มี
รายไดนอย (สุดทาย ชัยจันทึก และคณะ, 2560) และอาจเปนปจจัยหนึ่งที่ชวยทําใหนักศึกษา
เกิดความมุมานะ และตั้งใจเรียนใหจบ เพราะความคิดเห็นวา เรียนจบเปนพยาบาลแลวจะไมตก
งาน สอดคลองกับการวิจัย เรื่องเจตคติตอวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัย
พยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ กลาววา ความรูสึกทางบวกตอวิชาชีพการพยาบาล สงผลตอการ
ตัดสินใจเขาศึกษาในวิชาชีพ ที่ปจจุบันวิชาชีพพยาบาลเปนวิชาชีพที่ขาดแคลน ดังนั้น เมื่อสําเร็จ
การศึกษายอมมีงานทําแนนอน (อนัญญา คูอาริยะกุล และคณะ, 2557)
ขอเสนอแนะในการนําผลการศึกษาไปใช
1. จากผลการศึกษา สถาบันการศึกษาควรสงเสริมปจจัยดานสัมพันธภาพ ดานความรัก
ในวิชาชีพ ใหเกิดขึ้นในสถาบันตลอดไป อันจะเปนการสรางความผูกพัน ยึดนักศึกษาไวให
สามารถเรียนจนสําเร็จหลักสูตร ไมลาออกระหวางการเรียน
2. ควรสนับสนุนปจจัยทางดานเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง ไดแก การจัดตั้งกองทุนเงินให
กูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) หรือ การใหทุนการศึกษาแกนักศึกษา
ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป
1. ควรทําการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการคงอยูของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตรที่มีผล
การเรียนต่ํา เนื่องจากเปนกลุมเสี่ยงทางดานผลการเรียน ที่ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ และอาจ
เรียนไมสําเร็จตามหลักสูตร
2. ควรศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการคงอยูของนักศึกษาพยาบาล ที่ศึกษาในคณะ
พยาบาลศาสตร ของสถาบันการศึกษาอื่นในระดับภูมิภาคเพิ่มขึ้น
เอกสารอางอิง
ธนพล บรรดาศักดิ์, กนกอร ชาวเวียง, และนฤมล จันทรเกษม. (2560). ความสุขในการเรียนรู
ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน มจร, 5(1), 357-369.
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. (พิมพครั้งที่ 5).
กรุงเทพฯ: วิทยาออฟเซทการพิมพ.
บงกชพร ตั้งฉัตรชัย. (2554). ปจจัยทํานายการคงอยูในงานของพยาบาลวิชาชีพ: กรณีศึกษา
โรงพยาบาลศูนย เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กระทรวงสาธารณสุข. วารสารสภาการ
พยาบาล, 26(4), 43-45.