Page 85 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 85

การพิจารณาบทความ (Editorial and Review Process)
                     บทความจะไดรับการพิจารณาลงตีพิมพจะตองผานการพิจารณาจากกองบรรณาธิการ

             และผูทรงคุณวุฒิในสาขาเพื่อทําการกลั่นกรองและตรวจสอบคุณภาพของบทความ ดังนี้
                     1. กองบรรณาธิการแจง/ตอบกลับการไดรับบทความตามขอกําหนดการสงบทความ
             จากนั้นกองบรรณาธิการจะตรวจสอบชื่อเรื่องและเนื้อหาของบทความวาเหมาะสมกับ
             วัตถุประสงคและอยูในขอบเขต (Scope) ของวารสาร
                     2. เมื่อกองบรรณาธิการพิจารณาเห็นควรวาบทความเปนบทความที่เหมาะสมกับ

             วัตถุประสงคและอยูในขอบเขต (Scope) ของวารสารจะดําเนินการสงใหผูทรงคุณวุฒิในสาขา
             เพื่อตรวจสอบคุณภาพของบทความนั้นๆ ตอไป โดยที่ผูทรงคุณวุฒิจะเปนผูพิจารณาวาบทความ
             อยูในระดับที่เหมาะสมที่จะลงตีพิมพไดหรือบทความนั้นๆ ควรมีการแกไขในบางสวนกอนการ

             ตีพิมพ หรือปฏิเสธการตีพิมพ โดยกองบรรณาธิการจะอางอิงจากขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ
                     3. กองบรรณาธิการสงหนังสือตอบรับการตีพิมพหรือปฏิบัติการตีพิมพใหเจาของ
             บทความ


             ประเภทของผลงานวิชาการที่เปดรับตีพิมพ
                     1. บทความวิจัย (Research Article) เปนงานเขียนที่เกิดจากการวิจัยของผูเขียนหรือ
             สมาชิกรวมในงานวิจัยนั้น อยางเปนระบบ และไมเคยไดรับการตีพิมพมากอน

                     2. บทความวิชาการ (Academic Article) เปนบทความทางวิชาการที่นําเสนอ
             เนื้อหาสาระทางวิชาการที่นาสนใจ ซึ่งผานการวิเคราะห หรือประมวลจากแหลงขอมูลตางๆ เชน
             จากการวิจัยที่ผานมา จากเอกสารอางอิง จากความคิดเห็นของผูเขียนและผูอื่น อาจมีการ
             นําเสนอในมุมมองใหม ที่สนับสนุนหรือคานตอทฤษฎี หรือองคความรูทางวิชาการเดิม หรือเปน

             การนําเสนอแนวทางในการวิเคราะหองคความรูใหมๆ ที่ไมเคยมีผูรวบรวมเรียบเรียง หรือ
             วิเคราะหมากอน
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90